คำนวณขนาดบีทียู
BTU. ที่เหมาะสมกับขนาดพื้นที่ห้อง |
|||
ขนาดเครื่องปรับอากาศ (BTU.) |
ขนาดพื้นที่ห้อง(ตร.ม.) X 700-800 BTU. ต่อ 1 ตร.ม. |
ขนาดพื้นที่ห้อง(ตร.ม.) X 900-1,000 BTU. ต่อ 1 ตร.ม. |
|
ลักษณะห้อง |
บ้าน,คอนโด,อพาร์ทเม้นท์ ที่อยู่อาศัย |
ออฟฟิศ,สำนักงาน |
ร้านค้า |
9000 |
10-12 |
9-10 |
9 |
12000 |
15-17 |
12-13 |
12 |
15000 |
18-22 |
15-16 |
15 |
18000 |
22-25 |
18-20 |
18 |
24000 |
30-34 |
24-26 |
24 |
30000 |
38-42 |
30-33 |
30 |
36000 |
45-52 |
36-40 |
36 |
40000 |
50-57 |
40-44 |
40 |
48000 |
60-69 |
48-53 |
48 |
55000 |
68-78 |
55-61 |
55 |
60000 |
75-86 |
60-66 |
60 |
ค่าบีทียู คือขนาดความสามารถในการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ สูตรการคำนวณ (ค่าบีทียูของพื้นห้องที่ใช้งาน) BTU. = กว้าง x ยาง x ค่าผันแปร = คือขนาดบีทียูที่จะติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
1. ห้องนอนหรือห้องไม่โดนแดด = ค่าผันแปร 700 2. ห้องรับแขก,ห้องทำงาน(ในบ้าน) = ค่าผันแปร 700 (ไม่โดนแดด) – 800 (โดนแดด) 3. ห้องโถง,ห้องรับประทานอาหาร = ค่าผันแปร 800 (ไม่โดนแดด) – 900 (โดนแดด) 4. ห้องทำงานอ๊อฟฟิต,สำนักงานหรือห้องที่มีเครื่องใช้สำนักงาน มีคนอยู่และเข้าออกจำนวนมาก = ค่าผันแปร 900 (ไม่โดนแดด) – 1000 (โดนแดด) 5. ร้านค้า,ร้านกาแฟ,ร้านอาหาร,ร้านเสริมสวยทำผม เปิดประตูเข้าออกบ่อย(มีการสูญเสียความเย็น) = ค่าผันแปร 1000(ไม่โดนแดด) – 1200 (โดนแดด)
|
เนื่องอุณหภูมิที่สูงขึ้นทุกปีและอากาศร้อนมากโดยเฉพาะช่วงเข้าหน้าร้อน มีนาคม-พฤษภาคม เกือบ ๆ จะ 40 องศาของทุกปี แอร์ที่เคยติดตั้งโดยใช้สูตรคำนวณเดิม สังเกตุว่าช่วงหน้าร้อนคอมเพรสเซอร์จะไม่ตัดการทำงาน(รุ่นระบบธรรมดาและอินเวอร์เตอร์จะหมุนแรง) เพราะอากาศร้อนเข้ามากระทบทำให้แอร์ทำความเย็นตามที่ตั้งอุณหภมิไม่ได้คอมเพรสเซอร์จึงไม่ตัดการทำงาน ทำให้ตัวเครื่องทำงานหนักหรือคอมอาจจะเสียได้ และจ่ายค่าไฟฟ้าแพงขึ้นทางร้านจึงแนะนำให้ใช้สูตรคำนวณใหม่ เพื่อการใช้งานระยะยาวถึงแม้อากาศจะมีอุณหภูมิสูงถึง 40 องศาก็จะไม่พบเจอปัญหาแอร์ไม่ตัด แอร์ไม่เย็น ตามตารางที่คำนวณค่าบีทียูมาตามตารางที่แสดงขนาดพื้นที่ใช้งานเพื่อลดปัญหาแอร์ไม่เย็น |